วันพฤหัสบดีที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ความตึงผิว


* ความตึงผิวจะมีค่าลดลง เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
* ถ้าเป็นเหรียญ จะมีผิวสัมผัสกับวัตถุเพียงด้านเดียว
* ถ้าเป็นเส้นลวด ห่วงลวด จะมีผิวของเหลว สัมผัสวัตถุทั้ง 2 ด้าน

แรงตึงผิวของของเหลว คือ แรงที่พยายามยึดผิวของเหลวไว้ มีทิศขนานผิวของเหลว และตั้งฉากกับเส้นขอบของวัตถุ

ในของไหลทุกชนิดจะมีคุณสมบัติของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล 2 ชนิด คือ
1. แรงยึดติด (Cohesive Forces) คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลขอลเหลวกับผิวภาชนะ
2. แรงเชื่อมแน่น (Adhesive force) คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวดว้ยกัน
* น้ำ มีแรงยึดติด > แรงเชื่อมแน่น
* ปรอท มีแรงเชื่อมแน่น > แรงยึดติด

ปรากฏการณ์ของแรงตึงผิว
การซึมตามรูเล็ก คือ ปรากฏการณ์ที่ของไหลที่สัมผัสกับวัตถุแล้วมีลักษณะสูงขึ้นหรือต่ำลง เนื่องมาจากอิทธิพลของแรงยึดติดและแรงเชื่อมแน่น
เช่น บริเวณที่น้ำสัมผัสกับผิวแก้ว จะมีระดับน้ำสูงขึ้นเล็กน้อย เพราะแรงยึดติดระหว่างโมเลกุลของน้ำกับโมเลกุลของแก้วมีมากกว่าแรงเชื่อมแน่นระหว่าง
โมเลกุลของน้ำ แต่ถ้าเป็นบริเวณที่ปรอทสัมผัสกับผิวแก้ว ระดับปรอทจะต่ำลงเล็กน้อย เนื่องจากเชื่อมแน่นระหว่างโมเลกุลของปรอทมีมากกว่าแรงยึด
ติดระหว่างโมเลกุลของปรอทกับโมเลกุลของแก้ว

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น